กล้องวงจรปิด ราคาพิเศษ จัดโปรโมชั่น DVR Hikvision กล้องวงจรปิด อุปกรณ์ กันขโมย ตรวจจับโลหะ เครื่องตรวจจับโลหะ ครบวงจร ภาพชัดเทคโนโลยีใหม่ H.264 คุณภาพสูง
อินเตอร์เน็ตมีคอมพิวเตอร์ต่ออยู่เป็นล้านเครื่อง หลายท่านอาจตั้งข้อสงสัยว่าการที่เราส่งอีเมล์ไปยังปลายทางจะไปได้อย่างไร หรือเมื่อเราต้องการ LOGIN เข้าเครื่องอื่นที่อยู่บนเครือข่าย ระบบเครือข่ายรู้ได้อย่างไรว่าเครื่องนั้นอยู่ที่ใด รหัสหมายเลข IP ประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่ต่ออยู่บนเครือข่ายจะมีหมายเลขรหัสประจำเครื่องหมายเลขรหัสนี้เรียกว่า IP number ตัวเลข IP แต่ละเครื่องทั่วโลกจะต้องไม่ซ้ำกันตัวเลขนี้จะได้รับการกำหนดเป็นกฎเกณฑ์ให้แต่ละองค์กรนำไปปฎิบัติ โดยผู้ที่จะสร้างเครือข่ายต้องทำการขอหมายเลขประจำเครือข่าย เพื่อมากำหนดส่วนขยายต่อสำหรับเครื่องเอาเอง เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ SUN ที่ทำหน้าที่เป็นเกทเวย์สำหรับเมล์ของเครือข่ายนนทรี ชื่อ nontri มีหมายเลข IP เป็นตัวเลขประจำเครื่องนี้มีขนาด 32 บิต แบ่งเป็น 4 ฟิลด์ แต่ละฟิลด์จะมี 8 บิต แต่เมื่อเรียกรหัสหมายเลข IP นี้ ใช้ตัวเลขฐานสิบแบ่งเป็น 4 ตัว โดยมีจุด (.) คั่นระหว่างตัวดังนั้นจากตัวเลข 32 บิต ดังกล่าวเรียกได้เป็น 158.108.2.71ตัวเลขไบนารี 32 หลัก เป็นตัวเลขที่จดจำได้ยากแต่เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ใช้เลขเหล่านี้ได้อย่างถูกตัอง แต่เมื่อกำหนดเลข 4 ฟิลด์ แต่ละฟิลด์มีขนาด 0-255 เมื่อดูแล้วจะทำให้จำได้ง่ายขึ้น
เพื่อให้ระบบการเรียกชื่อง่ายขึ้นและการบริหารเครือข่ายทำได้ดี จึงมีการกำหนดชื่นแทนรหัส IP โดยมีการตั้งชื่อสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่อยู่บนเครือข่าย เช่น nontri.ku.ac.th ซึ่งแทนหมายเลข 158.108.162 หรือเครื่อง maspar ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์แบบขนานก็ใช้ชื่อ maspar.cpe.ku.ac.th โดยใช้แทนรหัส 158.108.162 ดังนั้นเครื่องที่ต่ออยู่บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตจะมีการตั้งชื่อเครื่องเพื่อให้รู้จักกันได้ง่ายขึ้น การตั้งชื่อมีการแบ่งเป็นลำดับขั้น ตัวที่อยู่ขวามือสุด คือชื่อย่อประเทศ เช่น th หมายถึงประเทศไทย เรามีชื่อย่ออยู่มากดังแสดงให้เห็นครับชื่อสถาบัน ชื่อเครือข่าย รหัส IP เกษตรฯ NONTRI-NET 158.108.0.0 จุฬา CHULA-NET 161.200.0.0 ลาดกระบัง KMITL-NET 161.246.0.0 ไทยสาร (เนคเทค) THAISARN 164.115.0.0 สงขลา MOR-OR-NET 192.100.77.0 จุฬา1 CHULA1-NET 192.133.10.0 ธรรมศาสตร์ TU-NET 192.150.249.0 เนคเทค NWG-BB-NET 192.150.250.0 เนคเทค NECTEC-NET 192.150.251.0 เชียงใหม่ CHIANGMAI-NET 192.203.247.0 จุฬา ATCCU-NET 192.207.64.0 เอไอที AIT-CS-NET 192.41.170.0 เอไอที AITCAMPUSNET 202.0.79.0 สงขลา MOR-OR-NET1 202.12.73.0 สงขลา MOR-OR-NET2 202.12.74.0 ขอนแก่น KKU-NET 202.12.97.0 สุโขทัย STOU-NET 202.14.117.0 มหิดล MAHIDOL-C-14-162 202.14.162.0 มหิดล MAHIDOL-C-14-163 202.14.163.0 นนทบุรี KMITNB-NET 202.14.164.0 รามคำแหง RU-NET1 202.20.67.0 รามคำแหง RU-NET2 202.20.68.0 สุรนารี SUTNET-C 202.21.140.0 เซนต์จอห์น STJOHN-NET 202.21.144.0 นิดา NIDA 202.21.149.0 ธนบุรี KMITT-44-8 202.44.8.0 ธนบุรี KMITT-44-9 202.44.9.0 ธนบุรี KMITT-44-10 202.44.10.0 ธนบุรี KMITT-44-11 202.44.11.0 ธนบุรี KMITT-44-12 202.44.12.0 ธนบุรี KMITT-44-13 202.44.13.0 ธนบุรี KIMTT-11-14 202.44.14.0 ธนบุรี KMITT-44-15 202.44.15.0 ธนาคารชาติ GRIDBKK 202.44.134.0 สาธารณสุข HEALTH-MOPH 202.44.137.0 ทบวงมหาวิทยาลัย MUA-C 202.44.138.0 ทบวงมหาวิทยาลัย MUA-CNET 202.44.139.0 อัสสัมชัญ ABACI-NET 202.6.100.0 จุฬา CUACC-NET 202.6.90.0 เอไอที AITCAMPUSNET3 202.8.65.0
แสดงความคิดเห็น
2 ความคิดเห็น:
อินเตอร์เน็ตมีคอมพิวเตอร์ต่ออยู่เป็นล้านเครื่อง หลายท่านอาจตั้งข้อสงสัยว่าการที่เราส่งอีเมล์ไปยังปลายทางจะไปได้อย่างไร หรือเมื่อเราต้องการ LOGIN เข้าเครื่องอื่นที่อยู่บนเครือข่าย ระบบเครือข่ายรู้ได้อย่างไรว่าเครื่องนั้นอยู่ที่ใด รหัสหมายเลข IP ประจำเครื่อง
คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่ต่ออยู่บนเครือข่ายจะมีหมายเลขรหัสประจำเครื่องหมายเลขรหัสนี้เรียกว่า IP number ตัวเลข IP แต่ละเครื่องทั่วโลกจะต้องไม่ซ้ำกันตัวเลขนี้จะได้รับการกำหนดเป็นกฎเกณฑ์ให้แต่ละองค์กรนำไปปฎิบัติ โดยผู้ที่จะสร้างเครือข่ายต้องทำการขอหมายเลขประจำเครือข่าย เพื่อมากำหนดส่วนขยายต่อสำหรับเครื่องเอาเอง เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ SUN ที่ทำหน้าที่เป็นเกทเวย์สำหรับเมล์ของเครือข่ายนนทรี ชื่อ nontri มีหมายเลข IP เป็นตัวเลขประจำเครื่องนี้มีขนาด 32 บิต แบ่งเป็น 4 ฟิลด์ แต่ละฟิลด์จะมี 8 บิต แต่เมื่อเรียกรหัสหมายเลข IP นี้ ใช้ตัวเลขฐานสิบแบ่งเป็น 4 ตัว โดยมีจุด (.) คั่นระหว่างตัวดังนั้นจากตัวเลข 32 บิต ดังกล่าวเรียกได้เป็น 158.108.2.71
ตัวเลขไบนารี 32 หลัก เป็นตัวเลขที่จดจำได้ยากแต่เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ใช้เลขเหล่านี้ได้อย่างถูกตัอง แต่เมื่อกำหนดเลข 4 ฟิลด์ แต่ละฟิลด์มีขนาด 0-255 เมื่อดูแล้วจะทำให้จำได้ง่ายขึ้น
เพื่อให้ระบบการเรียกชื่อง่ายขึ้นและการบริหารเครือข่ายทำได้ดี จึงมีการกำหนดชื่นแทนรหัส IP โดยมีการตั้งชื่อสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่อยู่บนเครือข่าย เช่น nontri.ku.ac.th ซึ่งแทนหมายเลข 158.108.162 หรือเครื่อง maspar ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์แบบขนานก็ใช้ชื่อ maspar.cpe.ku.ac.th โดยใช้แทนรหัส 158.108.162 ดังนั้นเครื่องที่ต่ออยู่บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตจะมีการตั้งชื่อเครื่องเพื่อให้รู้จักกันได้ง่ายขึ้น การตั้งชื่อมีการแบ่งเป็นลำดับขั้น ตัวที่อยู่ขวามือสุด คือชื่อย่อประเทศ เช่น th หมายถึงประเทศไทย เรามีชื่อย่ออยู่มากดังแสดงให้เห็นครับ
ชื่อสถาบัน ชื่อเครือข่าย รหัส IP
เกษตรฯ NONTRI-NET 158.108.0.0
จุฬา CHULA-NET 161.200.0.0
ลาดกระบัง KMITL-NET 161.246.0.0
ไทยสาร (เนคเทค) THAISARN 164.115.0.0
สงขลา MOR-OR-NET 192.100.77.0
จุฬา1 CHULA1-NET 192.133.10.0
ธรรมศาสตร์ TU-NET 192.150.249.0
เนคเทค NWG-BB-NET 192.150.250.0
เนคเทค NECTEC-NET 192.150.251.0
เชียงใหม่ CHIANGMAI-NET 192.203.247.0
จุฬา ATCCU-NET 192.207.64.0
เอไอที AIT-CS-NET 192.41.170.0
เอไอที AITCAMPUSNET 202.0.79.0
สงขลา MOR-OR-NET1 202.12.73.0
สงขลา MOR-OR-NET2 202.12.74.0
ขอนแก่น KKU-NET 202.12.97.0
สุโขทัย STOU-NET 202.14.117.0
มหิดล MAHIDOL-C-14-162 202.14.162.0
มหิดล MAHIDOL-C-14-163 202.14.163.0
นนทบุรี KMITNB-NET 202.14.164.0
รามคำแหง RU-NET1 202.20.67.0
รามคำแหง RU-NET2 202.20.68.0
สุรนารี SUTNET-C 202.21.140.0
เซนต์จอห์น STJOHN-NET 202.21.144.0
นิดา NIDA 202.21.149.0
ธนบุรี KMITT-44-8 202.44.8.0
ธนบุรี KMITT-44-9 202.44.9.0
ธนบุรี KMITT-44-10 202.44.10.0
ธนบุรี KMITT-44-11 202.44.11.0
ธนบุรี KMITT-44-12 202.44.12.0
ธนบุรี KMITT-44-13 202.44.13.0
ธนบุรี KIMTT-11-14 202.44.14.0
ธนบุรี KMITT-44-15 202.44.15.0
ธนาคารชาติ GRIDBKK 202.44.134.0
สาธารณสุข HEALTH-MOPH 202.44.137.0
ทบวงมหาวิทยาลัย MUA-C 202.44.138.0
ทบวงมหาวิทยาลัย MUA-CNET 202.44.139.0
อัสสัมชัญ ABACI-NET 202.6.100.0
จุฬา CUACC-NET 202.6.90.0
เอไอที AITCAMPUSNET3 202.8.65.0
แสดงความคิดเห็น